BLOGER

รวมบทความที่น่าสนใจ

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่และเสาเข็มจากการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่และเสาเข็มจากการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)

adminSep 1, 20212 min read

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่จากผลการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)             สำหรับการออกแบบระบบฐานรากในเบื้องต้นโดยประมาณ (preliminary design) : F.S. = 3.0 โดยอาศัยผลการทดสอบที่ได้จากการทดสอบทั้งในสนามและห้องทดลอง สามารถทำได้ดังนี้ ·       สำหรับกรณีของดินเหนียว (F.S. = 2.5 – 3.0) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน (qall) = qu = 2c; ปอนด์ต่อตารางฟุต กำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัย (qult) = 1.25N; T/m2. ·       สำหรับกรณีของดินทราย (F.S. = 2.5 – 3.0) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน (qall) = 250N; ปอนด์ต่อตารางฟุต (สำหรับ 10 ≤ N ≤ 50) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัย (qult) = 40N; T/m2. …[Meyerhof, 1956) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัย (qult) = 30N; T/m2. …[Japan, 1956) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัย (qult) = 12.5N; T/m2. …[Terzaghi and…

หลักการเบื้องต้นในการอ่านผลการเจาะสำรวจดิน

หลักการเบื้องต้นในการอ่านผลการเจาะสำรวจดิน

adminAug 31, 20213 min read

1.     การพิจารณาค่าจากการทดสอบ Atterberg Limits ซึ่งการพิจารณาดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจทั้งในขั้นตอนของการออกแบบ และการควบคุมงานก่อสร้างในส่วนของระบบฐานราก เช่นจะใช้เสาเข็มระบบใด (เสาเข็มตอกหรือเสาเข็มเจาะ) ปลอกเหล็กกันดินพังควรจะฝังลึกเท่าไร จะต้องใช้ของเหลวช่วยป้องกันการพังของผนังหลุมเจาะหรือไม่ เหล่านี้เป็นต้น      – หากดินมีค่า water content (v) เข้าใกล้ค่า LL. หรือมีค่ามากกว่า หมายถึงดินที่ระดับความลึกนั้นมีสภาพอ่อน มีกำลังรับแรงเฉือนได้ต่ำแต่จะมีค่าทรุดตัวสูง      – หากดินมีค่า water content (v) เข้าใกล้ค่า PL. หมายถึงดินที่ระดับความลึกนั้นมีสภาพแข็ง มีกำลังรับแรงเฉือนได้สูงแต่จะมีค่าทรุดตัวน้อย      – หากดินมีค่า Plasticity index (P.I. = LL.…